ยังไม่มีวิธีแก้กลากเกลื้อนที่แน่ชัด จุดประสงค์ในการรักษาก็เพื่อเยียวยาผลกระทบที่ผิวหนังและป้องกันการเกิดอาการปะทุ
แพทย์จะแนะนำแผนการรักษาโดยดูจากพื้นฐานอายุ อาการและสุขภาพ
สำหรับบางคน โรคกลากเกลื้อนอาจหายไปได้เอง หรืออาจต้องเป็นโรคตลอดชีวิต
รายละเอียดด้านล่างคือทางเลือกในการรักษา
รักษาเองที่บ้าน
มีหลายสิ่งสำหรับคนเป็นโรคกลากเกลื้อนสามารถทำได้เพื่อสุขภาพผิวหนังและบรรเทาอาการ
ยกตัวอย่างเช่น:
● อาบน้ำอุ่น
● ทามอยเจอร์ไรซ์เซอร์ภายใน 3 นาทีหลังจากอาบน้ำเพื่อ “ล็อค” ความชุ่มชื้น
● ทามอยเจอร์ไรซ์เซอร์ทุกวัน
● สวมใส่เสื้อผ้าที่เป็นผ้าฝ้ายที่นุ่ม
● หลีกเลี่ยงการสวมใส่เสื้อผ้าที่คับแน่น มีเส้นใยหยาบกระด้างและสาก
● ใช้เครื่องเพิ่มความชื้นในอาการเวลาอากาศเย็นหรือแห้ง
● ใช้สบู่อ่อนๆหรือคลีนเซอร์ที่ไม่ใช่สบู่ในการอาบน้ำ
● ระวังเตรียมตัวป้องกันการเกิดโรคกลากเกลื้อนที่อาจกำเริบในช่วงหน้าหนาว
● ปล่อยให้แห้ง ใช้ผ้าขนหนูถูเบาๆตรงผิวหนังที่แห้ง แทนการถูผิวที่แห้งหลังการอาบน้ำ
● หากเป็นไปได้ ให้หลีกเลี่ยงการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิอย่างรวดเร็วและการทำกิจกรรมที่ทำให้เกิดเหงื่อ
● เรียนรู้และหลีกเลี่ยงสิ่งกระตุ้นโรคกลากเกลื้อน
● ตัดเล็บให้สั้นอยู่เสมอเพื่อป้องกันการขีดข่วนผิวหนัง
เราสามารถลองรักษาตามธรรมชาติสำหรับโรคกลากเกลื้อนได้ รวมถึงการใช้อโลเวร่า น้ำมันมะพร้าว และแอปเปิ้ลไซเดอร์เวนิก้า
ยารักษาโรค
แพทย์จะสั่งจ่ายยาในการรักษาอาการโรคกลากเกลื้อน เช่น:
● ยาทาชนิดครีมคอร์ติโคสเตียรอยด์และขี้ผึ้ง: เป็นยาต้านการอักเสบและใช้เพื่อบรรเทาอาการหลักๆของโรคกลากเกลื้อน เช่นการอักเสบและอาการคัน สามารถใช้ได้โดยตรงกับผิวหนัง
● ยาสเตียรอยด์ออกฤทธิ์ทั่วร่างกาย: หากยาทาไม่ได้ผลแพทย์จะสั่งยาชนิดนี้ให้ หาได้ทั้งแบบฉีดหรือยาเม็ดรับประทาน ควรใช้ในระยะเวลาสั้นๆ สิ่งที่สำคัญคือหากอาการแย่ลงให้หยุดยาดังกล่าว
● ยาปฏิชีวนะ: แพทย์จะสั่งจ่ายยาปฏิชีวนะหากโรคกลากเกลื้อนเกิดขึ้นร่วมกับการติดเชื้อแบคทีเรียที่ผิวหนัง
● ยาต้านเชื้อไวรัสและต้านเชื้อรา: ไว้รักษาการติดเชื้อไวรัสและเชื้อรา
● ยาแก้แพ้: สามารถลดความเสี่ยงในการเกาในช่วงกลางคืน หรือในช่วงเวลาง่วงนนอน
● ยาทากลุ่ม calcineurin inhibitors: เป็นยายับยั้งการทำงานของระบบภูมิต้านทาน เพื่อลดการอักเสบและช่วยป้องกันการปะทุ
● มอยเจอร์ไรเซอร์ซ่อมแซมปกป้องริ้วรอย: เพื่อลดการสูญเสียน้ำและช่วยซ่อมแซมผิว
● การรักษาด้วยการส่องไฟ: เป็นการใช้คลื่นแสง UVA หรือ UVB เป็นวิธีรักษาโรคผิวหนังสมัยใหม่ แพทย์จะติดตามผิวหนังอย่างใกล้ชิดตลอดการรักษา
ด้วยตัวโรคเองยั้นไม่สามารถรักษาหายขาด ในแต่ละคนควรมีแผนการรักษาเป็นแบบเฉพาะตน
และเมื่อมีการรักษาผิวบริเวณที่เป็นเรียบร้อยแล้ว สิ่งสำคัญคือการดูแลหลังจากนั้น ซึ่งอาจทำให้ง่ายต่อการกลับมาระคายเคืองอีกครั้ง
- KolaxCream: ทางออกที่ดีที่สุดสำหรับเส้นเลือดขอด - กรกฎาคม 31, 2024
- Melavita: แคปซูลปกป้องผิว - กรกฎาคม 31, 2024
- Hanoxol: แคปซูลสำหรับโรคริดสีดวงทวาร - กรกฎาคม 31, 2024